บ้านร้อยอันพันอย่าง เชียงใหม่
บ้านร้อยอันพันอย่าง เชียงใหม่
เชียงใหม่
บ้านร้อยอันพันอย่าง บ้าน 100 อัน 1000 อย่าง เป็นพิพิธภัณฑ์เอกชนที่รวบรวมงานแกะสลักไม้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นไม้สัก งานแต่ละชิ้นได้รับการแกะสลักอย่างวิจิตรบรรจง โดยสุดยอดช่างฝีมือล้านนา ซึ่งอาจารย์ชรวย ณ สุนทรได้รวบรวมอนุรักษ์ไว้ ตัวอย่างเช่น ไม้ขี้เหล็กสลักภาพครูบาศรีวิชัย ไม้ขี้เหล็กเนื้อแข็งมากและแกะยากจนอาจทำให้เครื่องมือเสียได้ ผู้แกะใช้ไม้เนื้อนี้เพื่อเป็นสัญลักษณ์ที่ครูบาศรีวิชัยได้ต่อสู้ฝ่าฟันมา นอกจากนี้ยังมีไม้แกะพญางิ้วดำซึ่งเป็นไม้หายาก เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 8.30 - 16.30 น. มีวิทยากรนำชม ค่าบำรุงพิพิธภัณฑ์คนละ 100 บาท นักศึกษามาเป็นคณะ คนละ 50 บาท นักเรียนมาเป็นคณะคนละ 10 บาท ชาวต่างชาติ 200 บาท รายละเอียดติดต่อ โทร. 0 5335 5819, 0 5382 2649
การเดินทาง อยู่ในพื้นที่อำเภอหางดง ริมทางหลวงสาย 108 เชียงใหม่-สันป่าตอง-จอมทอง ระหว่างหลักกม.ที่ 19-20 หากมาจากเชียงใหม่จะอยู่ติดถนนฟากซ้ายมือ และจากประตูเมืองเชียงใหม่มีรถโดยสารสีเหลืองผ่านหลายสาย ได้แก่ ทุ่งเสี้ยว, หนองตอง, จอมทอง, บ้านกาด, มะขามหลวง เป็นต้น
พิกัด GPS บ้านร้อยอันพันอย่าง เชียงใหม่:
18.6510417,98.90448626721195
กดติดตามการเดินทางของเราใน Youtube ด้วยนะคะ
ผู้ชม 2003 ครั้ง แผนที่ บ้านร้อยอันพันอย่าง เชียงใหม่คลิกที่นี่
×
วิธีใช้งาน touronthai mini
ดูข้อมูลของรูปภาพกดที่รูปภาพนั้น
ใต้รูปภาพจะมีปุ่มอยู่ 6 ปุ่ม
- ปุ่มแรก คือ ปุ่มวิธีใช้ที่คุณเพิ่งกด
- ปุ่มที่ 2 คือ ปุ่มแสดงข้อมูลของสถานที่ที่คุณกำลังดู
- ปุ่มที่ 3 คือ เส้นทางไปยังสถานที่ที่คุณกำลังดู
- ปุ่มที่ 4 คือ ร้านอาหารที่อยู่ใกล้ๆ สถานที่ที่คุณกำลังดู
- ปุ่มที่ 5 คือ ที่เที่ยวที่อยู่ใกล้ๆ สถานที่ที่คุณกำลังดู
- ปุ่มที่ 6 คือ โรงแรมที่อยู่ใกล้ๆ สถานที่ที่คุณกำลังดู
ขอบคุณที่เข้ามาชม touronthai mini หวังว่าเว็บของเราจะมีประโยชน์กับคุณ
insert_emoticon
Log in
สอบถามการใช้งาน/แจ้งปัญหาการใช้งาน
@touronthai10 ที่พัก/โรงแรมใกล้ บ้านร้อยอันพันอย่าง เชียงใหม่
*หมายเหตุ ระยะทางเป็นระยะโดยประมาณ
10 ที่เที่ยวใกล้ บ้านร้อยอันพันอย่าง เชียงใหม่
*หมายเหตุ ระยะทางเป็นระยะโดยประมาณ
ร้านอาหารใกล้ บ้านร้อยอันพันอย่าง เชียงใหม่
*อยู่ในระหว่างการรวบรวมข้อมูล*
ร่วมส่งร้านโปรดของคุณให้ทุกคนรู้จักคลิก ..
*หมายเหตุ ระยะทางเป็นระยะโดยประมาณ
Access denied for user ''@'localhost' (using password: NO)